วุฒิสภา

คำถามพ่วง: เห็นชอบให้ส.ว.ที่มาจากการแต่งตั้ง ร่วมกับ ส.ส.เลือกนายกฯ หรือไม่?

วันที่ 7 สิงหาคม 2559 เป็นวันออกเสียงประชามติ หลายคนคงรู้ว่าเรื่องที่เราต้องไปออกเสียงในวันนั้นคือคำถามว่า "เห็นชอบ หรือ ไม่เห็นชอบ กับร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ" แต่ไม่แน่ใจว่า ทุกคนรู้หรือยังว่าในบัตรออกเสียงใบเดียวกันยังมีคำถามที่สอง คือ  เห็นชอบให้ส.ว.ที่มาจากการแต่งตั้ง ร่วมกับ ส.ส.เลือกนายกฯ หรือไม่

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

แม้ว่าร่างรัฐธรรมนูญมีชัยจะผ่านการออกเสียงประชามติ ในเบื้องหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ยังจะอยู่กับเราอย่างน้อยก็ 15 เดือน และในเบื้องหลังบรรดาประกาศ/คำสั่ง และวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง จากคสช.ยังอยู่หลังจากเลือกตั้ง

ข้อสังเกตบางประการร่างรัฐธรรมนูญ 2558

SIU ตั้งข้อสังเกตบางประการในร่างรัฐธรรมนูญใน ส่วนของที่มา นายกรัฐมนตรีที่เปิดโอกาสให้คนนอกเข้ามาดำรงตำแหน่ง หลักการในคัดสรร สว. รวมถึงการเกิดองค์กรใหม่ๆตามรัฐธรรมนูญ

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ (1) “หนักกว่า 2550”

ใบตองแห้ง และกองบก. ข่าวการเมืองประชาไท
สัมภาษณ์/เรียบเรียง

“รัฐธรรมนูญฉบับนี้พยายามที่จะสร้างระบอบการปกครองแบบใหม่ขึ้นมา คล้ายๆ กับย้อนไปปี พ.ศ. 2492 ที่เป็นการ Counter การอภิวัฒน์ 2475 รัฐธรรมนูญนี้มีทิศทางแบบนั้น แต่หนักกว่าปี 2492 และปี 2550 เข้าไปอีก”

รัฐธรรมนูญ’58 ‘สร้างการเมืองที่ดี ด้วยสมัชชาคุณธรรม’

 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ได้เผยแนวคิดเกี่ยวการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ผ่านบทความ "ระบอบการเมือง นักการเมือง และสถาบันการเมือง" ในจุลสารรัฐธรรมนูญฉบับปฏิรูป ฉบับที่ 2 มีเนื้อหาที่น่าสนใจเช่น การสร้างสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ที่มาวส.ว.เน้นการสรรหาหลากหลาย การเพิ่มบทบาทฝ่ายค้านในสภา และการเปิดช่องให้มีนายกฯ คนกลาง

ครั้งแรกในรอบ 24 ปี: ร่างรัฐธรรมนูญ ม.173 เปิดช่องนายกรัฐมนตรีคนนอก

ความคืบหน้าร่างรัฐธรรมนูญรายมาตรา ถึงหมวดคณะรัฐมนตรี มาตรา 173 ตัดทิ้งข้อความ "นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร" เปิดช่องนายกรัฐมนตรีคนนอก เทียบ รธน.ฉบับ รสช. และ รธน.ยุคเกรียงศักดิ์-เปรม ขณะที่เมื่อฟอร์มทีม ครม.ได้แล้ว นายกรัฐมนตรีต้องส่งรายชื่อให้วุฒิสภาสอบประวัติ - ก่อนเสนอชื่อ ครม. เพื่อกราบบังคมทูล

ข้อเขียนเพื่อทำความเข้าใจร่างรัฐธรรมนูญ 2558 และข้อสังเกตบางประการ

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ตั้งข้อสังเกตเพื่อทำความเข้าใร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเด็น คือ 1.นายกรัฐมนตรี 2. สภาผู้แทนราษฎร 3. วุฒิสภา 4. คณะกรรมการ สภา สมัชชา ที่จัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ และ 5. เรื่องโดยรวม

Subscribe to RSS - วุฒิสภา