โค้งสุดท้ายประชามติ #4 ขาดหลักประกันการถือครองที่ดินที่เป็นธรรม
เครือข่ายเกษตรกรรมเชื่อถ้าร่างรัฐธรรมนูญผ่าน ทำปัญหาที่ดินอยู่ในวังวนเดิมๆ ไร้หลักประกันการกระจายและถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม ซ้ำนโยบายยังเปิดทางทุน แต่ลดอำนาจเกษตรกร
เครือข่ายเกษตรกรรมเชื่อถ้าร่างรัฐธรรมนูญผ่าน ทำปัญหาที่ดินอยู่ในวังวนเดิมๆ ไร้หลักประกันการกระจายและถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม ซ้ำนโยบายยังเปิดทางทุน แต่ลดอำนาจเกษตรกร
สรุปรวมเนื้อหาสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ในหลากหลายประเด็น รวมทั้งคำถามพ่วง เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจลงประชามติ ในวันที่ 7
รัฐธรรมนูญทุกฉบับต้องอาศัยกฎหมายลูก อย่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ มาขยายความในรายละเอียด ซึ่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 กำหนดให้ร่างกฎหมายลูกอีกอย่างน้อย 10 ฉบับ และถ้าร่างผ่านประชามติ กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ จะอยู่ยาวอีกแปดเดือนเพื่อร่างกฎหมายลูกเองทั้งหมด เนื้อหาจะเป็นยังไงตอนนี้ยังไม่เห็นทิศทาง
ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 เป็นต้นมา ปัจจุบัน การกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร
ก่อนหน้านี้ ถ้ารัฐบาลจะลงนามในข้อตกลงระหว่างประเทศที่มีผลต่อเศรษฐกิจและสังคม ต้องให้ข้อมูลประชาชนและจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชนประก่อนการดำเนินการ แต่ตามร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ไม่มีขั้นตอนนี้คอยบังคับรัฐบาลแล้ว เขียนแค่ว่าให้มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้ แต่ยังไม่มีรายละเอียด
มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ให้ฉายาร่างรัฐธรรมนูญที่ร่างมากับมือว่า “รัฐธรรมนูญ ฉบับปราบโกง” เหตุผลที่ทำให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ต้องเน้นปราบโกง เพราะที่ผ่านมา มีการโกงกันมากจนประเทศชาติเสียหาย ส่งผลกระทบทั้งต่อเศรษฐกิจและสังคม และนี้เป็นเหตุผลสำคัญที่ผู้สนับสนุนร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ใช้ในการเชิญชวนประชาชนให้ไปรับร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 7 สิงหาคม
คำว่า "ปราบโกง" เปรียบเสมือนจุดขายหลักที่คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญซึ่งนำโดย มีชัย ฤชุพันธุ์ พยายามจะนำเสนอ แต่ทว่า วิธีการคัดกรองตรวจสอบหรือเอาผิดคนทุจริตคอร์รัปชั่นกับจำกัดอยู่แค่ "นักการเมือง" และที่ยิ่งไปกว่านั้นก็คือ กลไกบางอย่างกลับมุ่งเน้นไปที่การเอานักการเมืองออกจากตำแหน่งทางมากกว่าลงโทษคนผิดตามกฎหมาย โดยหน้าตาของกระบวนการปราบโกงมีหลายขั้นตอน คลิกอ่านเพิ่มเติม
ประเด็นว่าด้วยคณะรัฐมนตรี(ครม.) หรือรัฐบาล ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประเด็นที่พรรคการเมืองโดยเฉพาะพรรคเพื่อไทย และนักวิชาการบางส่วน วิจารณ์ว่าให้อำนาจกับองค์กรตุลาการ และองค์กรอิสระ ตรวจสอบฝ่ายรัฐบาลซึ่งมีที่มาจากประชาชนแต่งเพียงฝ่ายเดียวเท่านั้น ซึ่งขัดแย้งกับหลักการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจระหว่างทุกฝ่าย
'สิทธิชุมชน' เป็นอีกประเด็นที่มีความเห็นแตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ ที่เคยเขียนไว้
ในช่วงเกือบ 2 ทศวรรษที่ผ่านมาหากไม่นับรวมรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวแล้วประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการและกำลังอยู่ในกระบวนการประชามติรวม 3 ฉบับ น่าสนใจว่า การเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญแต่ละครั้งมีพัฒนาการอะไรดีๆ เกิดขึ้นบ้างกับสิทธิและเสรีภาพในกฎหมายแม่บทสำคัญของไทย การจะทำความเข้าใจภาพการเปลี่ยนแปลงนี้ จึงอยากชวนกันอ่าน “สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย” ผ่านรัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับ