ประชามติ

ประชาสังคมจวก ร่างรธน.ลิดรอนสิทธิ เรียกร้องเปิดพื้นที่คนเห็นต่างแสดงความเห็น

แม้ว่ากิจกรรมเวทีเสวนาสาธารณะ "รัฐธรรมนูญใหม่เอายังไงดีจ๊ะ" จะไม่ได้จัด แต่ทางเว็บไซต์ประชามติก็ย้ายสถานที่และรูปแบบงานเป็นการบันทึกเทปรายการเวทีสาธารณะ ซึ่งเนื้อหาสาระก็เป็นความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญและบรรยากาศในการร่างรัฐธรรมนูญที่ยากต่อการจะมีส่วนร่วมและทั้งหมดทั้งมวลอาจจะมีผลต่อการลงประชามติ 

ll ๒๐ เรื่องที่คุณต้องอึ้ง! เมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ ll

หลังจากเราได้เสนอเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยใน ภาค ๑ รัฐธรรมนูญต่างประเทศ ไปแล้ว หลายคนอาจจะอึ้ง หลายคนอาจจะเฉยๆ เพราะเป็นเรื่องที่รู้อยู่แล้ว เราลองมาดูอีกสิบข้อใน ภาค ๒ ซึ่งเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญไทยกันดูบ้าง น่าจะเป็นเรื่องคุ้นเคยและรู้ดีกว่ารัฐธรรมนูญต่างประเทศ แต่คุณแน่ใจหรือ ว่ารู้จักรัฐธรรมนูญไทยดีแล้ว เราท้าให้คุณอ่านสิบข้อนี้เสียก่อน แล้วมาบอกเราว่าคุณรู้อยู่แล้วกี่ข้อ

ll 20 เรื่องที่คุณต้องอึ้ง! เมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ ll

เว็บไซต์ประชามติ ขอนำสาระความรู้คัดสรรที่ทีมเรามั่นใจว่าหลายคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน ประเดิมด้วยสิบข้อใน 'ภาค 1 รัฐธรรมนูญต่างประเทศ' ซึ่งจะนำทุกท่านไปสำรวจความเป็นไปของรัฐธรรมนูญในอารยประเทศอื่นว่ามีความดีงามหรือแตกต่างกันอย่างไร ถ้าพร้อมแล้ว ไปดูกันว่าในสิบข้อแรกนั้นคุณรู้มาก่อนแล้วกี่ข้อ

เส้นทางก่อนจะถึงวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ' 59

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 ร่างแรกถูกเผยแพร่ให้สาธารณะชนได้รับทราบ จากนี้หากไม่เกิดอุบัติเหตุทางการเมืองแบบไม่คาดฝัน เส้นทางของร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะจบลงที่การออกเสียงประชามติ นอกจากนี้ระหว่างทางเดินสู่ประชามติยังมีประเด็นสำคัญ คือ แรงกดดันให้แก้ไขหลักเกณฑ์การทำประชามติ และคำถามที่ว่าหากร่างรัฐธรรมนูญไม่ผ่านประชามติจะทำอย่างไรต่อไป 

บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์: รัฐธรรมนูญไม่ผ่าน ครั้งต่อไปต้องไม่เหมือนเดิม

เว็บไซต์ประชามติเข้าพูดคุยกับ บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์ อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ถึงสถานการณ์การมีส่วนร่วมของประชาชนบนโลกออนไลน์ปี 2558 อนาคตของร่างรัฐธรรมนูญและการออกเสียงประชามติ รวมทั้งทางออกหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ต้องคว่ำไปอีกรอบ

ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข: เว็บไซต์ประชามติ = ภาคประชาชนที่นับได้

สถานการณ์ทางการเมืองตลอดปี 2558 มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นและสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับสังคมไทย และการทำงานของเว็บไซต์ประชามติ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข หนึ่งในผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ จะมาสรุปบทเรียนในปีที่ผ่านมา และมองเป้าหมายการทำงานในอนาคตของเว็บไซต์

โตมร ศุขปรีชา - เรื่องสิทธิขาดพลัง ในสังคมที่ "อำนาจนิยม" เป็นใหญ่

จากการทำงานมาเกือบหนึ่งปีของเว็บไซต์พบว่า มีความคิดเห็นมากมายที่หลบซ่อนอยู่ในสังคม เราจึงขอให้โตมร ศุขปรีชา คอลัมนิสต์ และพิธีกรรายการ "วัฒนธรรมชุบแป้งทอด" หนึ่งในผู้เฝ้ามองสังคมไทย เป็นผู้วิเคราะห์สิ่งที่ซ่อนอยู่ในผลการโหวตของเว็บไซต์ประชามติ

‘สมศักดิ์ เจียมฯ’ ชี้รธน.57 เขียนเอง ‘ประชามติ’ ต้องผ่านเสียงข้างมากของ ‘ผู้มีสิทธิ’ ไม่ใช่ ‘ผู้มาใช้สิทธิ’

‘สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล’ ประเมิน ประชามติ ไม่ผ่านถึงระดับ 23.5 ล้านแน่ ต่อให้คนทีเคยเลือก ปชป. ไปลงรับเป็นส่วนใหญ่ ก็ไม่มีทางได้ถึง หวั่น คสช.แก้ รธน. ให้ใช้เสียงข้างมากจากผู้มาใช้สิทธิแทน

ประชามติภายใต้คำสั่ง คสช.

การลงประชามติโดยไม่สามารถมีการรณรงค์นั้นย่อมไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชนที่เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยที่แท้จริงและที่สำคัญก็คือเราอยู่ในสังคมโลก ย่อมที่จะถูกรังเกียจเดียดฉันท์ ไม่มีใครอยากคบค้าสมาคมด้วย

จะเอาโหวตโนหรือโนโหวตฉันใดดี

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ เห็นว่าเฉพาะหน้านี้ ฝ่ายประชาชนคงจะต้องไม่รับร่างรัฐธรรมนูญนี้ แต่จะไม่รับในลักษณะใดยังคงจะต้องเป็นประเด็นในการพิจารณา

Pages

Subscribe to RSS - ประชามติ