ประชามติBrexit: ประชาธิปไตยไม่จำเป็นต้อง "ได้ดังใจ"
เกมกีฬาใดๆ ย่อมมีผู้แพ้และผู้ชนะ ประชาธิปไตยก็เช่นกัน บทเรียนจากความอกหักของประชามติ Brexit ในสหราชอาณาจักร สะท้อนวัฒนธรรมและการเรียนรู้ในสังคมประชาธิปไตย
เกมกีฬาใดๆ ย่อมมีผู้แพ้และผู้ชนะ ประชาธิปไตยก็เช่นกัน บทเรียนจากความอกหักของประชามติ Brexit ในสหราชอาณาจักร สะท้อนวัฒนธรรมและการเรียนรู้ในสังคมประชาธิปไตย
ศรีลังกา และบังกลาเทศ มีประสบการณ์เกี่ยวกับประชามติที่ไม่ค่อยดีนัก เมื่อผู้นำในอดีตใช้ประชามติเป็นเครื่องสร้างความชอบธรรม ต่ออายุให้อยู่ในอำนาจได้นานขึ้น และการทำประชามติก็เป็นไปใต้บรรยากาศของเผด็จการและกฎหมายพิเศษ
ระหว่างการทำประชามติของเคนย่าในปี 2010 ฝ่ายรณรงค์รับร่างใช้สีเขียวทำกิจกรรม ฝ่ายไม่รับร่างใช้สีแดง คุ้นๆ บรรยากาศเหมือนเคยเกิดขึ้นในไทยมาก่อน บัตรเลือกตั้งเคนย่าใช้รูปกล้วยกับรูปส้ม เพราะกลัวคนอ่านหนังสือไม่ออก
ย้อนดูกฎกติกาการทำประชามติที่สหราชอาณาจักร เรื่อง สก็อตแลนด์จะเป็นเอกราช หรือไม่ กกต.ของเขาดูแลการจัดรณรงค์ด้วยการเปิดให้จดทะเบียน แคมเปญใหญ่อาจถูกตรวจสอบเงิน ส่วนแคมเปญเล็กทำได้อิสระ ผลที่ออกมาฝ่ายแพ้ประกาศยอมรับ
7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากกาศการแสดงความเห็นคิดการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
ไอลอว์ทำการสุ่มสำรวจอย่างไม่เป็นทางการ อยากรู้ว่าคนในสังคมตื่นตัวเรื่องการทำประชามติขนาดไหนในบรรยากาศที่การรณรงค์เป็นไปได้ยาก พบร้อยละ ร้อยละ 70 ไม่ทราบวันลงประชามติ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่องคำถามพ่วง
ในที่สุดคณะกรรมการจากทีมเว็บไซต์ประชามติก็ได้ตัดสินการประกวดการออกแบบเสื้อฯ ซึ่งแทบทุกผลงานที่ส่งเข้าประกวดล้วนมีความโดดเด่น สวยงามและความคิดสร้างสรรค์ไม้แพ้กัน สร้างความหนักใจให้กับคณะกรรมการอย่างมาก
สมัชชาสาธารณสุขปกป้องประชาธิปไตย แสดงความคิดเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ว่า ลดทอนสิทธิเสรีภาพ, ระบบเลือกตั้งบิดผันเจตจำนงของประชาชน, ส.ว.ไม่ได้มาจากประชาชน, เปิดทางให้มีนายกฯ คนนอก, ศาลรัฐธรรมนูญก้าวก่ายอำนาจนิติบัญญัติและบริหาร, และเป็นการสืบทอดอำนาจ
6 มิ.ย.2559 จากกรณีเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. ที่ผ่านมา ผู้ตรวจการแผ่นดินได้มีมติเอกฉันท์เห็นว่า มาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ประชามติมีปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เนื่องจากมีความไม่ชัดเจนและคลุมเครือ นำไปสู่ความสับสนของประชาชน ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นจนทำให้กระทบสิทธิของประชาชนที่อาจนำไปสู่ความเสียหาย จึงเห็นควรส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ทั้งนี้คาดว่าจะส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญได้ภายในสัปดาห์นี้
iLaw นำรายชื่อภาคประชาชน เอ็นจีโอ และนักวิชาการ จำนวน 107 รายชื่อ ยื่นต่อผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้วินิจฉัยว่ามาตรา 61 ของพ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ล่าสุดที่ประชุมผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เตรียมยื่นให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย